|
|
|
การเกษตร ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของตำบล ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ทานตะวัน มีการจัดตั้งกลุ่มต่าง ๆ ขึ้นในหมู่บ้าน ตำบล เพื่อพัฒนาและแก้ไขสภาพทางเศรษฐกิจ กลุ่มเศรษฐกิจที่มีที่ชื่อเสียง ขององค์การบริหารส่วนตำบลเพนียด คือกลุ่มแกะสลักหินตำบลเพนียด สินค้าผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ หินแกะสลัก หินทรายเป็นเครื่องใช้ต่างๆหรือรูปแบบต่างๆ
การปศุสัตว์ เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือน เป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร |
|
|
|
|
|
สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา และเป็นภูเขาบางส่วนเหมาะสำหรับการเกษตร เช่น การปลูกข้าว พืชไร่และการเลี้ยงสัตว์ |
|
|
|
|
|
|
ภูมิอากาศมี 3 ฤดู ดังนี้ |
|
ฤดูร้อนตั้งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม |
|
ฤดูฝนตั้งแต่มิถุนายน - ตุลาคม |
|
ฤดูหนาวตั้งแต่พฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ ซึ่งอยู่ในเขตค่อนข้างแห้งแล้งมาก ในฤดูหนาวต่อฤดูร้อน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนตำบลเพนียดส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.92 และนับถือศาสนาคริสต์ร้อยละ 0.08 |
|
วัดในเขตพื้นที่ตำบลเพนียด มีจำนวน 6 แห่ง |
|
|
วัดราชบรรทม |
|
|
วัดหนองปล้อง |
|
|
วัดพุคารัตนาราม |
|
|
วัดสระสองตอน |
|
|
วัดนกเขาเปล้า |
|
|
วัดหนองสะแก |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
 |
|
|
|
|
งานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาท ณ วัดราชบรรทม ตำบลเพนียด จัดในช่วงเดือนมกราคม - เดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี |
|
จัดรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ และสรงน้ำพระ ช่วงเดือนเมษายน |
|
ทำบุญกลางบ้าน บริเวณศาลเจ้าแก้ว บ้านเพนียด ช่วงเดือนมิถุนายน |
|
งานประเพณีตักบาตรเทโว ช่วงเทศกาลออกพรรษาของทุกปี |
|
งานประเพณีลอยกระทง จะใช้กระทงที่ทำจากกะลามะพร้าวในการลอยกระทง โดยจัดงานในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 |
|
|
|
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเพนียด มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเพนียด |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนกเขาเปล้า |
|
โรงเรียนสังกัด สพฐ. ระดับประถมศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลเพนียด มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ |
|
|
โรงเรียนอนุบาลบ้านเพนียด |
|
|
โรงเรียนบ้านนกเขาเปล้า |
|
โรงเรียนสังกัด สพฐ. ระดับมัธยมศึกษา(ขยายโอกาส) ในเขตพื้นที่ตำบลเพนียด มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ |
|
|
โรงเรียนอนุบาลบ้านเพนียด |
|
|
โรงเรียนบ้านนกเขาเปล้า |
|
สถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี มีจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ |
|
|
สถานีวิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
|
|
|
|
|